พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ขอขอบคุณ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
สมเด็จพระนเรศวรและวัดภูเขาทอง
บริเวณทุ่งภูเขาทอง
เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดคือ “พระเจดีย์ภูเขาทอง” ในวัดภูเขาทอง พระเจดีย์องค์นี้สร้างบนฐานขนาดสูงใหญ่ประดุจภูเขาของกรุงศรีอยุธยา
จึงมีความโดดเด่นอยู่กลางท้องทุ่งและมองเห็นได้แต่ไกล
ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม อธิบายว่าเจดีย์องค์นี้น่าจะสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวร ส่วนฐานของเจดีย์เป็นรูปแบบมอญพม่า รองรับเจดีย์เพิ่มมุมที่มีรูปแบบสืบทอดมาจากเจดีย์ศรีสุริโยทัย แต่ต่างกันที่เจดีย์องค์นี้ไม่มีเจดีย์ยอดบนมุขทั้งสี่ด้าน ซึ่งอาจไม่มีการสร้างมาแต่แรกหรืออาจถูกรื้อออกไปเมื่อคราวบูรณะครั้งใหญ่ใน สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศก็เป็นได้
แกมเฟอร์บันทึกไว้ว่า เจดีย์องค์นี้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงชัยชนะของกษัตริย์ไทยที่มีเหนือ กษัตริย์พม่า บางท่านจึงอธิบายว่าการสร้างเจดีย์อยุธยาบนฐานแบบมอญพม่านี้ ก็คือสัญลักษณ์แห่งชัยชนะของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่มีเหนือพม่า การประกาศชัยชนะด้วยวิธีนี้ พม่าเคยใช้มาก่อนเมื่อครั้งที่ชนะเมืองมอญ เข้าใจว่าสมเด็จพระนเรศวรที่ทรงเจริญพระชนม์ในพม่า น่าจะโปรดเกล้าฯ ให้นำวิธีนี้มาใช้เช่นกัน
ศ.ดร.สันติ เล็กสุขุม อธิบายว่าเจดีย์องค์นี้น่าจะสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระนเรศวร ส่วนฐานของเจดีย์เป็นรูปแบบมอญพม่า รองรับเจดีย์เพิ่มมุมที่มีรูปแบบสืบทอดมาจากเจดีย์ศรีสุริโยทัย แต่ต่างกันที่เจดีย์องค์นี้ไม่มีเจดีย์ยอดบนมุขทั้งสี่ด้าน ซึ่งอาจไม่มีการสร้างมาแต่แรกหรืออาจถูกรื้อออกไปเมื่อคราวบูรณะครั้งใหญ่ใน สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศก็เป็นได้
แกมเฟอร์บันทึกไว้ว่า เจดีย์องค์นี้สร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงชัยชนะของกษัตริย์ไทยที่มีเหนือ กษัตริย์พม่า บางท่านจึงอธิบายว่าการสร้างเจดีย์อยุธยาบนฐานแบบมอญพม่านี้ ก็คือสัญลักษณ์แห่งชัยชนะของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่มีเหนือพม่า การประกาศชัยชนะด้วยวิธีนี้ พม่าเคยใช้มาก่อนเมื่อครั้งที่ชนะเมืองมอญ เข้าใจว่าสมเด็จพระนเรศวรที่ทรงเจริญพระชนม์ในพม่า น่าจะโปรดเกล้าฯ ให้นำวิธีนี้มาใช้เช่นกัน
สมเด็จพระนเรศวร ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระมหาธรรมราชาและพระวิสุทธิ์กษัตริย์ พระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๙๘ ณ เมืองพิษณุโลก แต่ต้องไปประทับเป็นองค์ประกันที่หงสาวดีตั้งแต่ทรงพระเยาว์ เพราะสมเด็จพระมหาธรรมราชาทรงยอมอ่อนน้อมต่อพม่า
จนเมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชาได้ครองกรุงศรีอยุธยาในฐานะเมืองประเทศราชของ พม่า สมเด็จพระนเรศวรจึงเสด็จกลับมาครองเมืองพิษณุโลกดำรงตำแหน่ง “อุปราชฝ่ายหน้า” หรือ “พระเจ้าอยู่หัวฝ่ายหน้า” ซึ่งทรงมีบทบาทและอำนาจโดดเด่นเสมอพระเจ้าแผ่นดิน ทรงเลื่องลือในการศึกสงครามจนฝ่ายพม่าไม่วางใจ จึงวางแผนสังหารเสีย แต่ทว่าสมเด็จพระนเรศวรทรงล่วงรู้ก่อน จึงตัดสินพระทัยปลดแอกจากการเป็นประเทศราชของพม่า และสร้างความแข้มแข็งขยายอำนาจออกไปอย่างกว้างขวาง แม้เมื่อสวรรคตที่เมืองหางในรัฐฉานของพม่าเมื่อปี พ.ศ. ๒๑๔๘ ก็ทรงอยู่ในระหว่างเสด็จนำทัพไปตีเมืองอังวะ พระองค์จึงเป็นกษัตริย์ในอุดมคติของสยาม เพราะทรงเปี่ยมด้วยพระปรีชาและเป็นแบบอย่างของความกล้าหาญ
พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๒ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ บริเวณที่เคยรบกับพม่า โดยเลือกเหตุการณ์ตอนทรงม้าออกมาสังหาร “ลักไวทำมู” ทหารเอกของพระเจ้าหงสาวดี นอกจากนี้ยังสร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และจัดพื้นที่รอบๆ เป็นแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตรและบรรเทาอุทกภัยตามแนวพระราชดำริด้วย
ผลการศึกษาทางวิศวกรรม พบว่าฐานด้านทิศตะวันตกมีโพรงที่อาจเกิดจากการลักลอบขุดหาสมบัติ มีผลให้เจดีย์ทรุดเอียงลงไปทางด้านนี้ประมาณ ๒ เมตร กรมศิลปากรจึงเพิ่มความแข็งแรงด้วยการเจาะรูเข้าไปในฐาน ทั้งแนวตั้ง แนวนอน และตะแคง จากนั้นอัดคอนกรีตเสริมเหล็ก เข้าไปยึดเชื่อมฐานให้มั่นคง
สร้างขึ้นระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๘ - ๒๕๔๒ เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ บริเวณที่เคยรบกับพม่า โดยเลือกเหตุการณ์ตอนทรงม้าออกมาสังหาร “ลักไวทำมู” ทหารเอกของพระเจ้าหงสาวดี นอกจากนี้ยังสร้างเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ เนื่องในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และจัดพื้นที่รอบๆ เป็นแหล่งกักเก็บน้ำเพื่อการเกษตรและบรรเทาอุทกภัยตามแนวพระราชดำริด้วย
ผลการศึกษาทางวิศวกรรม พบว่าฐานด้านทิศตะวันตกมีโพรงที่อาจเกิดจากการลักลอบขุดหาสมบัติ มีผลให้เจดีย์ทรุดเอียงลงไปทางด้านนี้ประมาณ ๒ เมตร กรมศิลปากรจึงเพิ่มความแข็งแรงด้วยการเจาะรูเข้าไปในฐาน ทั้งแนวตั้ง แนวนอน และตะแคง จากนั้นอัดคอนกรีตเสริมเหล็ก เข้าไปยึดเชื่อมฐานให้มั่นคง
พระแสงปืนข้ามแม่น้ำสะโตง
พระแสงปืนข้ามแม่น้ำสะโตงในปีที่ทรงประกาศอิสรภาพ สมเด็จพระนเรศวรฯ ทรงมีพระชนมายุได้ ๒๙ พรรษา หลังจากประกาศอิสรภาพแล้ว จากนั้นจึงยกกองทัพหลวงจากเมืองแครงไปตีเมืองหงสาวดี เมื่อข้ามแม่น้ำสะโตงไปจนใกล้ถึงเมืองหงสาวดี ทรงทราบว่าพระเจ้าหงสาวดีชนช้างรบชนะพระเจ้าอังวะ และกำลังยกกองทัพกลับคืนเมือง หงสาวดี สมเด็จพระนเรศวรฯ พิจารณาความได้เปรียบเสียเปรียบ แล้วจึงระงับการเข้าตีเมืองหงสาวดีไว้ก่อน ให้ทหารแยกย้ายกันช่วยบอกครอบครัวคนไทยที่พม่ากวาดต้อนมาแต่ก่อน ให้อพยพกลับเมืองไทยได้หมื่นเศษ พร้อมกับครอบครัวมอญอีกจำนวนหนึ่ง กำลังทั้งหมดเดินทางข้ามแม่น้ำสะโตง โดยกำลังของสมเด็จพระนเรศวรฯ ข้ามเป็นส่วนสุดท้าย พระมหาอุปราชาทรงทราบว่า
สมเด็จพระนเรศวรฯกวาดต้อนครอบครัวไทยมอญถอยกลับมา จึงจัดกองทัพให้สุรกรรมมาเป็นทัพหน้า
ติดตามกองทัพสมเด็จพระนเรศวรฯ มาทันถึงฝั่งแม่น้ำสะโตง ตรงข้ามกันกับทัพสมเด็จพระนเรศวรฯ
ซึ่งนำทหารข้ามน้ำมาหมดแล้ว แม่น้ำสะโตงช่วงนี้กว้างมาก มีบันทึกว่ากว้าง ๔๐๐ เมตร
กระสุนปืนที่ทหารไทย กับทหารพม่ายิงใส่กันนั้นไม่ถึงฝั่งทั้งสอง ฝ่ายสมเด็จพระนเรศวรฯทรงยิงพระแสงปืนนกสับกระบอกหนึ่งยาว
๙ คืบ (๒.๓๐ เมตร) ถูกสุรกรรมานายทัพของพม่าตายอยู่บนคอช้าง พวกรี้พลเห็นเช่นนั้นก็พากันครั่นคร้าม
พระมหาอุปราชานำทัพ
ตามหลังมาเห็นว่าจะติดตามสมเด็จพระนเศวรฯไปก็คงไม่ทันเป็นแน่แท้ จึงเลิกทัพกลับเมืองหงสาวดี พระแสงปืน ซึ่งทรงยิงถูกสุรกรรมมาตายนี้ สมเด็จพระนเรศวรทรงพระราชทานนามพระแสงปืนนั้นว่า \"พระแสงปืนต้นข้ามแม่น้ำสะโตง\"
ในปี พ.ศ. ๒๑๓๓ มีนามเรียกต่อ ๆ มาว่า \"พระแสงปืนข้ามแม่น้ำสะโตง\" นับเป็นพระแสงอัษฎาวุธอันเป็นเครื่องราชูปโภคสำหรับแผ่นดิน ซึ่งเก็บอยู่ในพระบรมมหาราชวังตราบจนทุกวันนี้
ตามหลังมาเห็นว่าจะติดตามสมเด็จพระนเศวรฯไปก็คงไม่ทันเป็นแน่แท้ จึงเลิกทัพกลับเมืองหงสาวดี พระแสงปืน ซึ่งทรงยิงถูกสุรกรรมมาตายนี้ สมเด็จพระนเรศวรทรงพระราชทานนามพระแสงปืนนั้นว่า \"พระแสงปืนต้นข้ามแม่น้ำสะโตง\"
ในปี พ.ศ. ๒๑๓๓ มีนามเรียกต่อ ๆ มาว่า \"พระแสงปืนข้ามแม่น้ำสะโตง\" นับเป็นพระแสงอัษฎาวุธอันเป็นเครื่องราชูปโภคสำหรับแผ่นดิน ซึ่งเก็บอยู่ในพระบรมมหาราชวังตราบจนทุกวันนี้
พระแสงดาบคาบค่าย
พระแสงดาบคาบค่าย
ปี พศ.๒๑๒๙ สมเด็จพระนเรศวรทรงสร้างวีรกรรมอย่างชายชาติทหารที่มีความกล้าหาญ เหนือฝ่ายพม่าหลายครั้ง เนื่องด้วยทางพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงยังไม่เข็ดหลาบในความพ่ายแพ้ จึงประชุมกองทัพจำนวนสองแสนห้าหมื่นคนยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในช่วงต้นเดือนยี่ ข้าวในนายังเกี่ยวไม่เสร็จ สมเด็จพระนเรศวรจึงรับสั่งให้เจ้าพระยากำแพงเพชร ยกทัพออกไปป้องกันชาวนาที่กำลังเกี่ยวข้าว พอทัพพม่าของพระมหาอุปราชยก ทัพมาถึงก็ให้ทัพม้าเข้าตีจนทัพเจ้าพระยากำแพงเพชรแตกพ่ายหนีเข้าเมือง สมเด็จพระนเรศวรทรงพิโรธอย่างมาก เพราะไทยไม่เคยแตกพ่ายแพ้ต่อข้าศึก อาจทำให้ทหารขวัญเสีย พระองค์และสมเด็จเอกาทศรถทรงเสด็จลงเรือพระที่นั่งออกไปรบทันที (สมเด็จพระเอกาทศรถทรงถูกกระสุนปืนแต่ไม่เป็นอะไร เพียงแค่ฉลองพระองค์ขาดเท่านั้น) ผลปรากฏว่าทรงยึดค่ายคืนมาได้ สมเด็จพระนเรศวรทรงรับสั่งประหารชีวิตเจ้าพระยากำแพงเพชร แต่โชคดีที่พระบิดาสมเด็จพระมหาธรรมราชาทรงขอชีวิตเอาไว้ การศึกครั้งนี้พม่าหมายหมั้นจะตีกรุงศรีอยุธยาให้ได้ แต่ด้วยความแข็งแกร่งของทหารไทยจึงรักษาที่มั่นเอาไว้ได้เสมอ วีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรในการศึกมีดังนี้ ทรงเสด็จออกปล้นค่ายพม่าซึ่งเป็นทัพหน้าของหงสาวดี ข้าศึกแตกพ่ายถอยหนี พระองค์จึงไล่ตีมาจนถึงค่ายหลวงของพระเจ้าหงสาวดี ทรงเสด็จลงจากม้าคาบพระแสงดาบแล้วนำทหารปีนบันไดขึ้นกำแพงข้าศึก แต่ถูกพม่าใช้หอกแทงตกลงมาข้างล่างหลายครั้ง จึงทรงเสด็จกลับพระนคร พระแสงดาบนี้มีนามว่า “ พระแสงดาบคาบค่าย ” ในพงศาวดารกล่าวว่า พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบการกระทำอันห้าวหาญของสมเด็จพระนเรศวร จึงทรงตรัสว่าถ้าพระนเรศวรออกมาอีกจะต้องจับพระองค์ ให้ได้ถึงแม้ว่าจะใช้ทหารมากมายเพียงใด จึงวางแผนให้ลักไวทำมูนำทหารจำนวนหนึ่งหมื่นคนไปดักจับ แน่นอนสมเด็จพระนเรศวรทรงออกไปปล้นค่ายหลวงพม่าอีก พม่าจึงใช้ทหารจำนวนน้อยเข้าล่อให้พระองค์ไล่ตี เข้ามาจนถึงบริเวณที่ ลักไวทำมูซุ่มรออยู่ ลักไวทำมูจะเข้ามาจับพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรจึงใช้พระแสงทวนแทงลักไวทำมูตายทันที แต่พระองค์ยังถูกล้อมอยู่และสู้กับทหารพม่า จำนวนมากนานร่วมชั่วโมง จนทัพไทยตามมาทันจึงเสด็จกลับพระนครได้ สุดท้ายกองทัพหงสาวดีบอบช้ำจากการสู้รบกับไทยอย่างมาก จึงถอยทัพกลับไปเช่นเดิม นี่เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงพระบารมีและทรงพระปรีชายิ่ง ทางด้านการรบของสมเด็จพระนเรศวร
ปี พศ.๒๑๒๙ สมเด็จพระนเรศวรทรงสร้างวีรกรรมอย่างชายชาติทหารที่มีความกล้าหาญ เหนือฝ่ายพม่าหลายครั้ง เนื่องด้วยทางพระเจ้าหงสาวดีนันทบุเรงยังไม่เข็ดหลาบในความพ่ายแพ้ จึงประชุมกองทัพจำนวนสองแสนห้าหมื่นคนยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ในช่วงต้นเดือนยี่ ข้าวในนายังเกี่ยวไม่เสร็จ สมเด็จพระนเรศวรจึงรับสั่งให้เจ้าพระยากำแพงเพชร ยกทัพออกไปป้องกันชาวนาที่กำลังเกี่ยวข้าว พอทัพพม่าของพระมหาอุปราชยก ทัพมาถึงก็ให้ทัพม้าเข้าตีจนทัพเจ้าพระยากำแพงเพชรแตกพ่ายหนีเข้าเมือง สมเด็จพระนเรศวรทรงพิโรธอย่างมาก เพราะไทยไม่เคยแตกพ่ายแพ้ต่อข้าศึก อาจทำให้ทหารขวัญเสีย พระองค์และสมเด็จเอกาทศรถทรงเสด็จลงเรือพระที่นั่งออกไปรบทันที (สมเด็จพระเอกาทศรถทรงถูกกระสุนปืนแต่ไม่เป็นอะไร เพียงแค่ฉลองพระองค์ขาดเท่านั้น) ผลปรากฏว่าทรงยึดค่ายคืนมาได้ สมเด็จพระนเรศวรทรงรับสั่งประหารชีวิตเจ้าพระยากำแพงเพชร แต่โชคดีที่พระบิดาสมเด็จพระมหาธรรมราชาทรงขอชีวิตเอาไว้ การศึกครั้งนี้พม่าหมายหมั้นจะตีกรุงศรีอยุธยาให้ได้ แต่ด้วยความแข็งแกร่งของทหารไทยจึงรักษาที่มั่นเอาไว้ได้เสมอ วีรกรรมของสมเด็จพระนเรศวรในการศึกมีดังนี้ ทรงเสด็จออกปล้นค่ายพม่าซึ่งเป็นทัพหน้าของหงสาวดี ข้าศึกแตกพ่ายถอยหนี พระองค์จึงไล่ตีมาจนถึงค่ายหลวงของพระเจ้าหงสาวดี ทรงเสด็จลงจากม้าคาบพระแสงดาบแล้วนำทหารปีนบันไดขึ้นกำแพงข้าศึก แต่ถูกพม่าใช้หอกแทงตกลงมาข้างล่างหลายครั้ง จึงทรงเสด็จกลับพระนคร พระแสงดาบนี้มีนามว่า “ พระแสงดาบคาบค่าย ” ในพงศาวดารกล่าวว่า พระเจ้าหงสาวดีทรงทราบการกระทำอันห้าวหาญของสมเด็จพระนเรศวร จึงทรงตรัสว่าถ้าพระนเรศวรออกมาอีกจะต้องจับพระองค์ ให้ได้ถึงแม้ว่าจะใช้ทหารมากมายเพียงใด จึงวางแผนให้ลักไวทำมูนำทหารจำนวนหนึ่งหมื่นคนไปดักจับ แน่นอนสมเด็จพระนเรศวรทรงออกไปปล้นค่ายหลวงพม่าอีก พม่าจึงใช้ทหารจำนวนน้อยเข้าล่อให้พระองค์ไล่ตี เข้ามาจนถึงบริเวณที่ ลักไวทำมูซุ่มรออยู่ ลักไวทำมูจะเข้ามาจับพระองค์ สมเด็จพระนเรศวรจึงใช้พระแสงทวนแทงลักไวทำมูตายทันที แต่พระองค์ยังถูกล้อมอยู่และสู้กับทหารพม่า จำนวนมากนานร่วมชั่วโมง จนทัพไทยตามมาทันจึงเสด็จกลับพระนครได้ สุดท้ายกองทัพหงสาวดีบอบช้ำจากการสู้รบกับไทยอย่างมาก จึงถอยทัพกลับไปเช่นเดิม นี่เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงพระบารมีและทรงพระปรีชายิ่ง ทางด้านการรบของสมเด็จพระนเรศวร
พระแสงแสนพลพ่าย
และ พระมาลาเบี่ยง
ครั้นถึงวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2135 สองวีรกษัตริย์ไทย คือ สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถได้เข้าตีกองทัพหน้าของพม่าที่ยกมาครั้งใหม่แตกหนี อลหม่าน ขณะนั้นเองช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ กับช้างของสมเด็จพระเอกาทศรถชื่อ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ซึ่งเป็นช้างตกมันทั้งคู่ ได้ไล่ตามพวกข้าศึกไปอย่างเมามันทำให้กองกำลังทหารไทยตามไม่ทัน สองวีรกษัตริย์ไทยเข้าไปอยู่กลางวงล้อมของเหล่าข้าศึก มีแต่จตุรงคบาทและพวกทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน เมื่อพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชาทรงพระคชธารอยู่ในร่มไม้กับเหล่า ท้าวพระยา จึงทราบว่าได้ถลำเข้ามาจนถึงกลางกองทัพของปัจจามิตรแล้ว แต่พระองค์ทรงมีสติมั่นไม่หวั่นไหวจึงไสช้างเข้าไปใกล้แล้วตรัสไปโดยฐานคุ้น เคยกันมาก่อนทั้งในวัยเยาว์และวัยเติบใหญ่ว่า "เจ้าพี่จะยืนช้างอยู่ในร่มไม้ทำไม ขอเชิญเสด็จมาทำยุทธหัตถีกันให้เป็นเกียรติยศเถิด กษัตริย์ภายหน้าที่จะชนช้างอย่างเราจะไม่มีอีกแล้ว" ด้วยความมีขัตติยมานะ พระมหาอุปราชาจึงไสช้าง พลายพัธกอ ออกมาชนกับเจ้าพระยาไชยานุภาพซึ่งกำลังตกมัน เมื่อเห็นข้าศึกตรงออกมาท้าทายก็โถมแทงทันทีไม่ยับยั้ง เลยพลาดท่าทำให้พลายพัธกอได้ล่างแบกรุนเอาเจ้าพระยาไชยานุภาพเบนจะขวางตัว พระมหาอุปราชาได้ทีฟันด้วยพระแสงของ้าว สมเด็จพระนเรศวรเบี่ยงพระองค์หลบทันเลยถูกแต่พระมาลาหนังขาดวิ่นไป พอดีกับเจ้าพระยานุภาพสะบัดหลุดแล้วกลับได้ล่างแบกรุนพลายพัธกอหันเบนไปบ้าง สมเด็จพระนเรศวรจึงจ้วงฟันด้วยพระ แสงของ้าวถูกพระมหาอุปราชาที่อังสะขวา (ไหล่ขวา) ขาดสะพายลงมา ซบสิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้าง
ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถได้ชนช้างกับเจ้าเมืองจาปาโรขาดสะพายแล่งตาย คาคอช้างเช่นกัน พวดท้าวพระยาเมืองหงสาวดี เห็นเจ้านายเสียทีต่างก็กรูกันเข้ามาช่วย ใช้ปืนระดมยิงถูกสมเด็จพระนเรศวรที่พระหัตถ์ถึงบาดเจ็บ พอดีขณะนั้นกองทัพหลวงของไทยตามมาทัน จึงเข้ารบพุ่งแก้เอาจนจอมทัพไทยออกมาได้ ฝ่ายกรุงหงสาวดีก็เลิกทัพกลับไป
พระแสงของ้าวที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระประหารพระมหาอุปราชาครั้งนั้น ได้นามต่อมาว่า "พระแสงแสนพลพ่าย" และพระมาลาที่ถูกฟันปรากฏนามว่า "พระมาลาเบี่ยง" นับเป็นเครื่องมงคลราชูปโภคมาจนบัดนี้ ส่วนช้างศึกที่ชนะก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี"
ครั้นถึงวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่ำ ปีมะโรง พ.ศ. 2135 สองวีรกษัตริย์ไทย คือ สมเด็จพระนเรศวร และสมเด็จพระเอกาทศรถได้เข้าตีกองทัพหน้าของพม่าที่ยกมาครั้งใหม่แตกหนี อลหม่าน ขณะนั้นเองช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรชื่อ เจ้าพระยาไชยานุภาพ กับช้างของสมเด็จพระเอกาทศรถชื่อ เจ้าพระยาปราบไตรจักร ซึ่งเป็นช้างตกมันทั้งคู่ ได้ไล่ตามพวกข้าศึกไปอย่างเมามันทำให้กองกำลังทหารไทยตามไม่ทัน สองวีรกษัตริย์ไทยเข้าไปอยู่กลางวงล้อมของเหล่าข้าศึก มีแต่จตุรงคบาทและพวกทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน เมื่อพระนเรศวรทอดพระเนตรเห็นพระมหาอุปราชาทรงพระคชธารอยู่ในร่มไม้กับเหล่า ท้าวพระยา จึงทราบว่าได้ถลำเข้ามาจนถึงกลางกองทัพของปัจจามิตรแล้ว แต่พระองค์ทรงมีสติมั่นไม่หวั่นไหวจึงไสช้างเข้าไปใกล้แล้วตรัสไปโดยฐานคุ้น เคยกันมาก่อนทั้งในวัยเยาว์และวัยเติบใหญ่ว่า "เจ้าพี่จะยืนช้างอยู่ในร่มไม้ทำไม ขอเชิญเสด็จมาทำยุทธหัตถีกันให้เป็นเกียรติยศเถิด กษัตริย์ภายหน้าที่จะชนช้างอย่างเราจะไม่มีอีกแล้ว" ด้วยความมีขัตติยมานะ พระมหาอุปราชาจึงไสช้าง พลายพัธกอ ออกมาชนกับเจ้าพระยาไชยานุภาพซึ่งกำลังตกมัน เมื่อเห็นข้าศึกตรงออกมาท้าทายก็โถมแทงทันทีไม่ยับยั้ง เลยพลาดท่าทำให้พลายพัธกอได้ล่างแบกรุนเอาเจ้าพระยาไชยานุภาพเบนจะขวางตัว พระมหาอุปราชาได้ทีฟันด้วยพระแสงของ้าว สมเด็จพระนเรศวรเบี่ยงพระองค์หลบทันเลยถูกแต่พระมาลาหนังขาดวิ่นไป พอดีกับเจ้าพระยานุภาพสะบัดหลุดแล้วกลับได้ล่างแบกรุนพลายพัธกอหันเบนไปบ้าง สมเด็จพระนเรศวรจึงจ้วงฟันด้วยพระ แสงของ้าวถูกพระมหาอุปราชาที่อังสะขวา (ไหล่ขวา) ขาดสะพายลงมา ซบสิ้นพระชนม์อยู่กับคอช้าง
ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถได้ชนช้างกับเจ้าเมืองจาปาโรขาดสะพายแล่งตาย คาคอช้างเช่นกัน พวดท้าวพระยาเมืองหงสาวดี เห็นเจ้านายเสียทีต่างก็กรูกันเข้ามาช่วย ใช้ปืนระดมยิงถูกสมเด็จพระนเรศวรที่พระหัตถ์ถึงบาดเจ็บ พอดีขณะนั้นกองทัพหลวงของไทยตามมาทัน จึงเข้ารบพุ่งแก้เอาจนจอมทัพไทยออกมาได้ ฝ่ายกรุงหงสาวดีก็เลิกทัพกลับไป
พระแสงของ้าวที่สมเด็จพระนเรศวรทรงพระประหารพระมหาอุปราชาครั้งนั้น ได้นามต่อมาว่า "พระแสงแสนพลพ่าย" และพระมาลาที่ถูกฟันปรากฏนามว่า "พระมาลาเบี่ยง" นับเป็นเครื่องมงคลราชูปโภคมาจนบัดนี้ ส่วนช้างศึกที่ชนะก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า "เจ้าพระยาปราบหงสาวดี"
เรื่องราวคร่าวๆก็ประมาณนี้ละครับ ถ้าผ่านมาก็แวะมาเยี่ยมชมกันได้ครับ ถ้ามองไปทางด้านหลังก็จะเห็นเจดีย์ภูเขาทอง สามารถขับรถเข้าไปได้ครับ
ส่วนบทความด้านล่างฉบับแปลเป็นภาษาอังกฤษครับ
King Naresuan
and Golden Mount
|
Mountain
and Field Bethel is the most important. "Golden Mountain Pagoda" at
Wat Saket. The pagoda was built on a large scale like a mountain of
Ayutthaya. It is distinctive in the middle of a field, visible from afar.
Prof. orawan explained that this pagoda is built in the reign of King Naresuan. The base of the pagoda is a Burmese Mon. Compatible with the pagoda to pagoda style inherited from Sisuriyothai. But different this pagoda pagoda on the porch on all four sides. Which may or may not be built, but the first to be dismantled on the restoration time in the reign Yehu it is not. scams Gophers recorded This pagoda was built to commemorate the victory of King of kings Thailand with Burma. Some explained that building pagodas on the base model, Mon, Myanmar, Ayutthaya this. It is a symbol of the victory of King Naresuan the northern Myanmar. Declared victory this way Myanmar had used before when the winner Mon Township. Understand that the prosperity of King Naresuan the dead in Burma. To be ordered The method is used as well. Naresuan He is the son of King Dlamini kings, and the lyrics. Royal birth in the year 2098 at Phitsanulok. But the imprint is required to insure that Bago since he was young. King Dlamini because he refused to humble Burma. till Dlamini was crowned King of Ayudhya as urban settlement of Burma. King Naresuan came to dominate Phitsanulok tenure. "Viceroy officials" or "King's party" which had always characterized the role and power of God. He went to war and Burmese do not trust. So plan slay But King Naresuan, having known before. Decided to release it as a colony of Burma. And build a strong tongue extended power widely. Even on his deathbed in the tail in the Shan State of Burma in the year 2148, he went in the army to strike Ava. He is an ideal king of Siam. It was filled with the intuition and a model of courage. royal King Monument of King Naresuan. generated during the year 2538 - 2542 to honor King Naresuan the area had been fighting with Myanmar. By choosing the right horse is killed, "steal sensitive to Smooth" soldier of God Bago. It also created to honor His Majesty King Rama 9 on the occasion of 50th anniversary celebrations and the surrounding areas. A reservoir to store water for agriculture and flood mitigation works well. engineering study The west side has a hollow base that can be caused by illegal digging for treasure. As a result, the pagoda collapsed down the incline to about 2 meters arts department, thereby increasing the strength by drilling holes into the base of both vertical and horizontal compression side of the concrete. Connected to mounting base provides a solid machine with symbols of the four major royal articles of use talent.
Sword guns across the river Sato
d.
, in the shape of Independence King Naresuan After the age of 29 years old, had already declared independence. Then the army took the city of Lorient to beat Bago. Once across the river, Sato sent until near the town Bago. Knew that God Bago Ava hoops battle honors God. Army and returned Bago King Naresuan. Considering the advantage Then suspend strike Bago City before. Soldiers departing tell families Thailand to Myanmar forcibly before. A thousand fragments to migrate to Thailand. Along with a number of families of Mon. 're All crossing the river Sato. The power of King Naresuan. Skip the last part His Majesty the King was certain that equipment. King Naresuan's family forcibly Thailand Mon retreating back. Thus, military action Surachai a vanguard. The army of King Naresuan Sato came up to the river bank. Opposite to the army of King Naresuan. Which led soldiers across the water came out. Reflected in the river, the range is very wide. Is recorded that a 400 meter military ammunition. Burmese soldiers shooting at each other, not to either side. King Naresuan's sword for his firing cannon barrel I chopped one long 9 grids (2.30 meters), was Mr. Surachai activities of Burmese troops dead on the elephant. They feared battalions saw it. His Majesty the King led the army unit that will follow after the King of France's Loire Valley, it remains behind is unmistakable. Thus retiring from the Army back to Bago sword gun, which had been shot to death this Sura karma. King Naresuan, King signed a gun that sword. \ "The sword guns across the river Sato d \". , in the year 2133 with the call later that \ "sword guns across the river Sato d \" Who is the sword as a royal articles of use for the land. Which is stored in the palace until today.
Sword periodic camps
Except 0.2129 heroism of King Naresuan made a man of courage is courage. Burma several times over Because of the way God Bago Ananda Red recidivism in the defeat. He gathered an army of two hundred and fifty thousand troops attacked Ayutthaya. In the early twenty months Rice has about finished. King Naresuan sent to Chao Phraya Phet. Troops to protect farmers are harvesting. The Burmese army troops of the viceroy. Army troops arrive to horse beaten to force the city to escape the aliens Chao Phraya Phet. King Naresuan very angry. Because Thailand never be defeated by the enemy. May cause military demoralized Him and Her Ekathosarot yacht had come down to the battle immediately. (King Ekathosarot he was shot, but not as anything. Just his clothes torn only) results show that took away his camp. King Naresuan XVI had sent death question. But good luck to the Father King Dlamini ask survive. The battle is engaged to Myanmar to attack Ayutthaya. But with the strength of the military, thus keeping it up always. King Naresuan's heroic deeds in battle are as follows. He went out to rob the camp, Burma, a vanguard of Bago. Defeat enemy retreated He beat to the camp of God Bago. He came down from the horses mouth sword then climb the ladder up the wall of enemy soldiers. But was Myanmar Spear falling down several times. And he came to Bangkok This sword was called "the sword periodic camps" in the Chronicle said. Bago God knows the exploits of King Naresuan. So he said that if Naresuan had to take him out again. Although the military has one. Luxembourg is planning to hold a number of moose taken ten thousand soldiers to capture. Of course, King Naresuan the raiding camp Burma. Myanmar soldiers take over more to lure him sacked. Came to the area Luxembourg Namur ambush waiting to do. Luxembourg Namur to do to get him. King Naresuan is using to do Moose edged spear pierced Luxembourg die instantly. But he was surrounded and fought the Burmese military. Many long hours together Thailand overtook the army went back to Bangkok. Bago traumatized by the last military engagement with Thailand very much. So retreated back to the same This is to demonstrate the majesty and His Majesty. The battle of King Naresuan.
Rower's sword
and the corona bypass.
happened overnight on Monday 2 May twenty second year of the Dragon 2135 Sires Thailand is King Naresuan. And Her Majesty has hit almost every page of the Burmese army fled quoted new unregulated. At that moment the royal elephant of King Naresuan the name. XVI Chaiyanuparp Elephant of King Ekathosarot name. Subdue the three worlds XVI Who was a pair estrus It is frantically pursued the enemy to overtake military forces. Thailand in the middle of the circle into two sires of the enemy. But the Turgc baht and they overtook the guard only. When King Naresuan the Great devices saw the king in the shade with these Cchtar Tgawpraya. Realize that the precipitation into the middle of the enemy army then. But he has not moved so strongly conscious style elephant approached by a familiar said before, both in childhood and adulthood that extension. "The older elephants stand in the shade it. We come together to honor him Iuthheete. Functions can be monarch elephant, we will never again "with a royal honor. His Majesty the King is shaping equipment Elephants Plai Phraya Path Gore came out against Chaiyanuparp which estrus. When you see the enemy straight out challenge was launched immediately thrust restraint. Make it misses Ply Gore Path cleared pod carrying out Chaiyanuparp Ben would cross the Chao Phraya. His Majesty the King was connected with the tooth-edged scythe. King Naresuan diversion, he slipped up but it was the Malayalam film worn.
Fit to flick
off the Chao Phraya power back to the lower thrust bearing Ply Path Ben
Gordon turned to me. King Naresuan thus extols the teeth. The scythe is the
great stumbling over the Agsa right (right shoulder) being slung down the
elephant fell dead.
most Ekathosarot King is the ruler Raja Parowan hoops lacks Sapaiแleg dead elephant as well. The Quaid Tgawpraya Bago City. They defeated the boss rushed in to help. Guns were used to bombard the hand of King Naresuan the injury. Then fit of Thailand, the Royal followed up. So he fought it out until the Supreme Thailand out. Bago division went up the back. edged scythe that King Naresuan the Great devices over the execution time. Be signed later that "a sword oarsman" and the corona is visible as the teeth. "the Corona Bypass" is a sacred royal articles of use hitherto. Winning the war elephant was bestowed the name. "Kings beat |
Ayutthaya Studies Institute 96 Ayutthaya Rajabhat University Phra Nakhon Si Ayutthaya Road Pridi. Ayutthaya
Phone 035-241-407 Fax: 035-241-407
Phone 035-241-407 Fax: 035-241-407
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น